วันจันทร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2555




แอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Android (แอนดรอยด์)
สัญลักษณ์ปัจจุบันของแอนดรอยด์
Android 2.3
Android 4.0 (Galaxy Nexus)
บริษัท / ผู้พัฒนาFlag of the United States กูเกิลOpen Handset Alliance
สถานะพัฒนา
รูปแบบ
รหัสต้นฉบับ
Free and open source software
วันที่เปิดตัว21 ตุลาคม พ.ศ. 2551; 1261 วันก่อน
รุ่นเสถียร
4.0.x (ไอศกรีมแซนวิช)
25 กรกฎาคม พ.ศ. 2554; 254 วันก่อน
แพลตฟอร์ม
ที่รองรับ
ARMMIPSPower Architecturex86
ชนิดเคอร์เนลMonolithic (ลินุกซ์)
ลิขสิทธิ์Apache 2.0 and GPLv2[1]
เว็บไซต์android.com
แอนดรอยด์ (อังกฤษandroid) เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับอุปกรณ์พกพา เช่น โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ เน็ตบุ๊ก ทำงานบนลินุกซ์ เคอร์เนล เริ่มพัฒนาโดยบริษัทแอนดรอยด์ (อังกฤษAndroid Inc.) จากนั้นบริษัทแอนดรอยด์ถูกซื้อโดยกูเกิล และนำแอนดรอยด์ไปพัฒนาต่อ ภายหลังถูกพัฒนาในนามของ Open Handset Alliance[2] ทางกูเกิลได้เปิดให้นักพัฒนาสามารถแก้ไขโค้ดต่างๆ ด้วยภาษาจาวา และควบคุมอุปกรณ์ผ่านทางชุด Java libraries ที่กูเกิลพัฒนาขึ้น
แอนดรอยด์ได้เป็นที่รู้จักต่อสาธารณชนเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยทางกูเกิลได้ประกาศก่อตั้ง Open Handset Alliance[3] กลุ่มบริษัทฮาร์ดแวร์, ซอฟต์แวร์ และการสื่อสาร 48 แห่ง ที่ร่วมมือกันเพื่อพัฒนา มาตรฐานเปิด สำหรับอุปกรณ์มือถือ ลิขสิทธิ์ของโค้ดแอนดรอยด์นี้จะใช้ในลักษณะของซอฟต์แวร์เสรี
โทรศัพท์เครื่องแรกที่สามารถใช้งานระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ได้คือ HTC Dream ออกจำหน่ายเมื่อ 22 ตุลาคม 2551[4]

ซิมเบียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Symbian OS
Symbian logo
บริษัท / ผู้พัฒนาAccenture on behalf ofNokia[1]
ตระกูลEmbedded operating systems
สถานะยังพัฒนาอยู่
รูปแบบ
รหัสต้นฉบับ
Open Source
รุ่นเสถียรSymbian Belle
แพลตฟอร์ม
ที่รองรับ
ARM (จำลองบน x86 ได้)
ชนิดเคอร์เนลMicrokernel
อินเทอร์เฟซ
พื้นฐาน
S60 platformUIQMOAP
เว็บไซต์[1]
ซิมเบียน (อังกฤษSymbian) คือ ระบบปฏิบัติการสำหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่ พัฒนาโดยบริษัท Symbian Ltd. โดยออกแบบสำหรับทำงานเฉพาะหน่วยประมวลผล ARM
ปัจจุบันมีบริษัทที่ถือหุ้นส่วนอยู่ได้แก่ อีริกสัน (15.6%) โนเกีย (47.9%) พานาโซนิก (10.5%) ซัมซุง(4.5%) ซิเมนส์ (8.4%) และ โซนี อีริกสัน (13.1%) โดยมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ประเทศอังกฤษ ซิมเบียนเริ่มใช้งานเมื่อในเดือนมิถุนายน ปีพ.ศ. 2541 ปัจจุบัน

[แก้]อุปกรณ์ทำงานกับซิมเบียน

[แก้]ประวัติการพัฒนาของ Symbian

Symbian OS 6.0 หรือที่เรียกว่า ER6 (EPOC Release 6, ออกวางจำหน่ายก่อนหน้านี้ 5) ได้เปิดตัวใน 2001.
EPOC32 สนับสนุนการพัฒนาแยกอินเตอร์เฟซผู้ใช้แบบกราฟิก (GUI €™ s) & ฟังก์ชันเดียวกันได้ ported เพื่อ Symbian, นี่ก็เป็นผลในสามส่วนติดต่อผู้ใช้ที่สำคัญมีการพัฒนา; Nokia S60, UIQ โดยโมโตโรล่า & Sony Ericsson & MOAP(S) โดย NTT DoCoMo.
จากผู้ใช้รุ่นนี้มีความสามารถในการติดตั้งโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์ของพวกเขา. โทรศัพท์คนแรกที่มาพร้อมกับ S60 UI & Symbian OS 6.1 เป็นโนเกีย 7650; มันเป็นโทรศัพท์ 2.5G แรกและมีกล้อง & เซ็นเซอร์วัดแสง.
บางคุณสมบัติของ Symbian OS 6 รวมบลูทู ธ, IrDA & สนับสนุนหน่วยความจำภายนอก, XHTML, MMS, Java MIDP 1.0, SMTP, IMAP4, และความสามารถ POP3.
Symbian OS 7.0 ได้เปิดตัวใน 2003; จะเพิ่มการสนับสนุนสำหรับ Java MIDP 2.0. นอกจากนี้ยังมีความสามารถในการเชื่อมต่อเครือข่ายหลายพร้อมกันเข้ามา (เรียกดู & ส่งอีเมลได้ในเวลาเดียวกัน) & ความสามารถในการเลือกการเชื่อมต่อเครือข่ายขึ้นอยู่กับคุณภาพของการบริการ.
ประสิทธิภาพการทำงานมัลติมีเดียได้ดีขึ้นด้วยการสนับสนุนการใช้งานแบบมัลติเธรดสื่อเช่น. Games, เครื่องเล่นสื่อ.
รอบ 1.18 ล้านบาทโทรศัพท์มือถือ Symbian ถูกส่งในไตรมาส 1 2003 เมื่อเทียบกับ 2 ล้านบาทในการจัดส่ง 2002 โดยภาพรวม.
โนเกีย ส่วนติดต่อผู้ใช้ S60 2nd Edition และรุ่น 2 แพ็คคุณสมบัติ 1 (FP1) โดยขึ้นอยู่กับรุ่นนี้ Symbian OS 8.0 ได้เปิดตัวใน 2004. ที่ว่าโทรศัพท์เวลาปกติมีสองหน่วยประมวลผล / ชิป, หนึ่งในการจัดการการสื่อสารและอื่น ๆ ในการจัดการการดำเนินงานระบบและข้อมูลของผู้ใช้หรือมีสองระบบปฏิบัติการ, อย่างใดอย่างหนึ่งสำหรับส่วนวิทยุและการจัดการผู้ใช้อื่น ๆ €™ s ข้อมูล.
Symbian 8.0 คือสามารถจัดการทั้งสองด้วยตัวเอง.
นี้จะช่วยลดค่าใช้จ่ายของโทรศัพท์มือถือ Symbian & ทำให้มันเป็น OS แรกที่สำคัญโทรศัพท์มือถือเพื่ออวดความสามารถนี้.
การปรับปรุงอื่น ๆ รวมถึงเพิ่มความสามารถมัลติมีเดีย, การสนับสนุน Java ดีกว่า, OpenGL ES & SDIO (SD ความหมายขยายหน่วยความจำ & การสนับสนุนเทคโนโลยีเช่น DVB - H & การจดจำลายนิ้วมือ).
โนเกียโทรศัพท์แรกของ N - series N90 จะขึ้นอยู่กับรุ่น 8.1. S60 2ครั้ง Edition FP2 และ FP3 ได้ขึ้นอยู่กับรุ่น 8.0 & 8.1. Symbian OS 9.1 ออกวางจำหน่ายได้ในช่วงต้น 2005 แต่รุ่น 9.0 ไม่ได้มีไว้สำหรับประชาชนทั่วไป.
ในรุ่น 9.1 และการอัพเกรดเป็นผลเนื่องมาจากคุณสมบัติการรักษาความปลอดภัยมากขึ้นมีการเพิ่ม. การปรับปรุงอื่น ๆ รวมถึง HSDPA และในตัว WiFi & บลูทู ธ 2.0 สนับสนุน, ความสามารถในการรับสาย IP ผ่าน WiFi.
รูปแบบที่ 9.4 เพิ่มการปรับปรุงประสิทธิภาพอย่างมีนัยสำคัญ. S60 3. Edition ขึ้นอยู่กับ 9.1, 3. Edition FP1 บน 9.2 & FP2 บน 9.3. S60 5TH หรือ Symbian Edition 1 ( S^ 1) จะขึ้นอยู่กับรุ่น 9.4.
Symbian OS 9.5 คือรุ่นล่าสุดของชุดระบบปฏิบัติการ Symbian, ประกาศในเดือนมีนาคม 2007. มันต้องมี 20-30% RAM น้อยลง & เวลาเริ่มต้นสำหรับระบบปฏิบัติการลดลง & การใช้งาน
Symbian Anna
ด้วยการเปิดตัวของ Nokia X7 และ E6 มารุ่นใหม่ที่เรียกว่า Symbianแอนนา
ตามวิสัยทัศน์ประมาณโทรศัพท์มือถือ. 446 ล้านโทรศัพท์ Symbian OS ได้รับการจัดส่งเป็นของ H2 2010. อนาคตของระบบปฏิบัติการที่อาศัยอยู่กับเราทุกปีเหล่านี้ & ขับเคลื่อนที่ดีที่สุดโทรศัพท์สื่อในขณะนี้ไม่เป็นที่รู้จักเป็น Nokia ได้ตัดสินใจที่จะร่วมเป็นพันธมิตรกับไมโครซอฟท์ การใช้ Windows เป็นฐานของระบบปฏิบัติการสำหรับมาร์ทโฟน.
Symbian Belle โนเกียเปิดตัว Symbian รุ่นถัดไปรหัส "Belle" (นับต่อจาก Anna ที่ใช้ตัว A แนวทางเดียวกับ Ubuntu) เรียบร้อย
ของใหม่ใน Symbian Belle มีดังนี้
   widget แบบปรับขนาดได้ มีด้วยกัน 5 ขนาด, เพิ่ม widget สำหรับเปิดปิด Bluetooth และเปลี่ยน profile ของมือถือ
   เพิ่มจำนวน homescreen จาก 3 เป็น 6
   statusbar ที่ลากลงมาข้างล่างได้แบบ Android
   ปรับโครงสร้างเมนูใหม่ให้เหลือชั้นเดียว (แบบ Android) ย้ายแถบแสดงปุ่มคำสั่งลงมาด้านล่างของหน้าจอ (แบบเดียวกับ N9)
   เพิ่มแอพใหม่จากไมโครซอฟท์หลายตัว เช่น Lync, SharePoint, OneNote, Exchange ActiveSync, PowerPoint Broadcaster
   แสดงสถานะต่างๆ ในหน้าจอ lockscreen เช่น สายที่ไม่ได้รับ ข้อความ ฯลฯ
   รองรับ NFC เต็มที่ ส่งรูปภาพข้ามเครื่องกันได้ผ่าน NFC เพียงแค่นำเครื่องไปวางไว้ใกล้ๆ กัน
   ปรับปรุงประสิทธิภาพของมัลติทาสกิง

 ระบบปฏิบัติการ Windows
[แสดง image]
 
ปรับปรุง : 2548-08-11 (ปรับเรื่อง office)
    สาระการเรียนรู้
    1. ประวัติความเป็นมา (History)
    2. หลักการออกแบบ
    3. โครงสร้างระบบ (Structure System)
    4. ระบบแฟ้ม (File System)
    5. ระบบ DOS
    6. โปรแกรมประยุกต์

    จุดประสงค์การสอน
    1. เข้าใจประวัติความเป็นมา (History)
    2. เข้าใจหลักการออกแบบ
    3. เข้าใจโครงสร้างระบบ (Structure System)
    4. เข้าใจระบบแฟ้ม (File System)
    5. สามารถใช้งานระบบ DOS ได้
    6. สามารถเลือกใช้โปรแกรมประยุกต์ให้เหมาะกับงานได้
    7. สามารถติดตั้ง และเปิดบริการต่าง ๆ ได้


บทนำ
เนื่องจากความยากในการใช้งานดอสทำให้บริษัทไมโครซอฟต์ได้มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่เรียกว่า วินโดวส์ (Windows) ที่มีลักษณะเป็น GUI (Graphic-User Interface) ใกล้เคียงกับแมคอินทอชโอเอส เพื่อให้การใช้งานดอสทำได้ง่ายขึ้น แต่วินโดวส์จะยังไม่ใช่ระบบปฏิบัติการจริง ๆ เนื่องจากมันจะทำงานอยู่ภายใต้การควบคุมของดอสอีกที กล่าวคือจะต้องมีการติดตั้งดอสก่อนที่จะติดตั้งระบบปฏิบัติการวินโดวส์ และผู้ใช้จะสามารถเรียกใช้คำสั่งต่าง ๆ ที่มีอยู่ในดอสได้โดยผ่านทางวินโดวส์ ซึ่งจะง่ายกว่าการออกคำสั่งโดยพิมพ์จากแป้นพิมพ์โดยตรง
12.1 ประวัติความเป็นมา (History)
    วินโดวส์ที่ถูกพัฒนาโดยไมโครซอฟต์ในรุ่นแรก ๆ จะใช้กับเครื่องไอบีเอ็ม และไอบีเอ็มคอมแพททิเบิล ที่มีซีพียูเบอร์ 80286 80386 และ 80486 และในปี 1990 ไมโครซอฟต์ได้ออกวินโดวส์เวอร์ชัน 3.0 ออกมา เพื่อทำการโปรโมทผู้ใช้ไม่ให้หันไปนิยมใช้แมคอินทอชโอเอสแทนดอส อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าวินโดวส์จะง่ายต่อการใช้งานมากกว่าดอส แต่ในเวอร์ชันแรก ๆ การใช้งานก็ยังไม่ง่ายเท่าของแมคโอเอส และนอกจากนี้การติดตั้งอุปกรณ์รอบข้างอื่น ๆ ก็ยังทำได้ยาก
    วินโดวส์ได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง จากวินโดวส์เวอร์ชัน 3 มาเป็น 4.0 วินโดวส์ 95 และวินโดวส์ 98 ในปัจจุบัน วินโดวส์ 95 และ วินโดวส์ 98 ถือว่าเป็นระบบปฏิบัติการอย่างแท้จริง เนื่องจากมันไม่ต้องอยู่ภายใต้ การควบคุมของดอส การติดตั้งจะแยกออกจากดอสอย่างเด็ดขาดไม่จำเป็นต้องติดตั้งดอสก่อน นอกจากความง่ายและสะดวกต่อการใช้งานแล้ว วินโดวส์เวอร์ชันใหม่นี้ยังรวมซอฟต์แวร์ที่ทำให้ผู้ใช้สามารถติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเองเข้ากับระบบเครือข่ายได้อย่างง่ายดาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครือข่ายอินเตอร์เน็ตและยังเอื้ออำนวยความสะดวกในการโอนถ่ายซอฟต์แวร์หรือที่เรียกว่าดาวน์โหลด(Download) โปรแกรมเป็นอย่างมาก นอกจากนี้วินโดวส์เวอร์ชันใหม่นี้ยังมีความสามารถทางด้าน Plug–and-Play ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ใช้สามารถนำอุปกรณ์ มาตรฐานต่าง ๆ เช่น ซีดีรอมไดรฟ์ ซาวน์การ์ด โมเด็ม ฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ ฯลฯ ที่สนับสนุน Plug-and-Play มาต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง และเมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ 95 หรือ 98 จะทำหน้าที่ติดตั้งอุปกรณ์เหล่านี้และทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์รู้จักอุปกรณ์เหล่านี้เอง โดยที่ผู้ใช้ไม่ต้องทำอะไรเพิ่ม
    ในปัจจุบันตลาดพีซีเกือบทั้งหมดถูกครองครองโดยระบบปฏิบัติการวินโดวส์ 

3G คืออะไร....



3G หรือ The Third Generation Mobile Network

คือมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ ที่พัฒนาต่อเนื่องจากยุคที่ และ 2.5 ซึ่งเป็นยุคที่มีการให้บริการระบบเสียงและการส่งข้อมูลในขั้นต้น ทั้งยังมีข้อจำกัดอยู่มาก การพัฒนาของ 3G ทำให้เกิดการใช้บริการมัลติมีเดีย และส่งผ่านข้อมูลในระบบไร้สาย ด้วยอัตราความเร็วที่สูงขึ้น ถูกพัฒนาเพื่อแทนที่ระบบโทรศัพท์ 2G ซึ่ง 3G นั้นได้รับการพัฒนาบนพื้นฐานของมาตรฐาน IMT-2000 ภายใต้กลุ่มของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ(ITU : International Telecommunication Union)

มาตรฐานโทรศัพท์มือถือยุคที่ หรือที่เรียกว่า ระบบ UMTS หรือ W-CDMA ในระบบ GSM ใช้ช่วงความถี่ตั้งแต่ 850, 900, 1800, 1900 และ2100 ผสานเทคโนโลยีในปัจจุบันเข้าด้วยกัน มีสามารถการนำเสนอข้อมูลใช้งานด้านมัลติมีเดียส่งผ่านข้อมูลทั้งภาพและเสียงในระบบไร้สายด้วยความเร็วที่สูง ช่วยให้การใช้บริการมัลติมีเดีย ผ่าน 3G เป็นไปอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็น Video call, VDO Streaming, หรือใช้งานอินเทอร์เน็ตทั้งรับ-ส่งอีเมลและท่องเว็บไซต์ต่างๆ ผ่านระบบเครือข่ายไร้สายด้วยอัตราความเร็วที่สูงขึ้นซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้สะดวก และรวดเร็วมากขึ้นด้วย


3G ดีกว่า 2G อย่างไร

ลักษณะการทำงานของ 3G เมื่อเปรียบเทียบเทคโนโลยี 2G กับ 3G แล้ว 3G มีช่องสัญญาณความถี่ และ ความจุในการรับส่งข้อมูลที่มากกว่าทำให้ประสิทธิภาพในการรับส่งข้อมูลแอพพลิเคชั่น รวมทั้งบริการระบบเสียงดีขึ้น พร้อมทั้งสามารถใช้บริการมัลติมีเดียได้เต็มที่และสมบูรณ์แบบขึ้น เช่น บริการส่งแฟกซ์โทรศัพท์ต่างประเทศ, รับ-ส่งข้อความที่มีขนาดใหญ่ประชุมทางไกลผ่านหน้าจออุปกรณ์สื่อสารดาวน์โหลดเพลงชมภาพยนตร์แบบสั้นๆ เทคโนโลยีซึ่งมีลักษณะเด่น ข้อ ดังนี้
-       รับ-ส่งข้อมูลได้เร็วกว่า
-       รองรับการใช้งาน Audio และ VDO streaming
-       รองรับการประชุม VDO conference
-       เข้า Web และ WAP ได้เร็วกว่า
-       รองรับการใช้งานการดู TV ผ่านเน็ต (IPTV)

คุณสมบัติหลักของ 3G คือ มีการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายของ 3G ตลอดเวลาที่เราเปิดเครื่องโทรศัพท์ (always on) นั่นคือไม่จำเป็นต้องต่อโทรศัพท์เข้าเครือข่าย


สเปคโทรศัพท์ที่รองรับ 3G

โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่จะใช้งาน 3G ได้ ต้องเป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่รองรับระบบ UMTS หรือ W-CDMA ในระบบ GSM ใช้ช่วงความถี่ตั้งแต่ 850, 900, 1800, 1900 และ 2100 ซึ่งโทรศัพท์แต่ละรุ่นก็รองรับย่านความถี่ที่ต่างกัน ซึ่งก่อนที่เราจะซื้อโทรศัพท์ที่นำมาใช้งานนั้น ต้องศึกษาก่อนว่าโทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นที่เราจะซื้อมาใช้นั้นรองรับความถี่ใด และ 3G ที่ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Operator) นั้น เปิดให้บริการ 3G ที่คลื่นความถี่ใด

ตัวอย่างเช่น ถ้าลูกค้ามีโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3G ที่ รองรับย่านความถี่ 2100 MHz หรือ 850 MHz จะไม่สามารถใช้เครือข่าย 3G ของ AIS ได้ เนื่องจาก AIS เปิดให้บริการ 3G ในย่านความถี่ 900 MHz ความถี่จึงไม่ตรงกัน และสำหรับลูกค้าที่ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่รองรับเฉพาะระบบ 2G นั้นจะไม่สามารถใช้งานได้เช่นกัน เนื่องจากเป็นคนละระบบ ถ้าลูกค้าต้องการใช้ 3G ของ AIS ลูกค้าจะต้องหาซื้อเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่รองรับระบบ 3G W-CDMA ในย่านความถี่ 900 MHz


ประโยชน์ของ 3G

จากการที่ 3G สามารถรับส่งข้อมูลในความเร็วสูงทำให้การติดต่อสื่อสารเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว และมีรูปแบบใหม่ๆ มากขึ้น ประกอบกับอุปกรณ์สื่อสารไร้สายในระบบ 3G สามารถให้บริการระบบเสียงและแอพพลิเคชั่นรูปแบบใหม่ เช่น จอแสดงภาพสีเครื่องเล่น mp3, เครื่องเล่นวิดีโอการดาวน์โหลดเกมแสดงกราฟฟิก และการแสดงแผนที่ตั้งต่างๆ ทำให้การสื่อสารเป็นแบบอินเตอร์แอคทีฟที่สร้างความสนุกสนานและสมจริงมากขึ้น





3G (สามจี หรือ ทรีจี)เป็นมาตรฐานโทรศัพท์มือถือในยุคที่ 3 ถูกพัฒนาและกำลังมาแทนที่ ระบบโทรศัพท์ 2G ซึ่ง 3G นั้นพัฒนาบนพื้นฐานของมาตรฐาน International Mobile Telecommunications 2000, IMT-2000 ภายใต้กลุ่มของ International Telecommunication Union (ITU)

3G หรือที่เรียกว่า ระบบ UMTS หรือ WCDMA ในระบบ GSM 850 , 900 , 1800 , 1900 และ 2100 (ที่เป็นสากลที่โทรศัพท์ระบบ 3G ต้องมี)

3Gนั้น ได้พัฒนามาจาก GPRS และ EDGE ตอนนี้ได้มีในเมืองไทยแล้ว แต่ในของระบบ AIS นั้นจะทำ HSDPA หรือ 3.5G (ระบบ 3G มีใช้เฉพาะที่จังหวัด เชียงใหม่ และ กทม.) โดยขณะนี้ มีแค่ AIS และ ทรูมูฟ เท่านั้นที่ให้บริการ

3G คือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000 นั้นนิยามสั้นๆ เพื่อให้เข้าใจตรงกันว่า

• “ต้องมี แพลทฟอร์ม(Platform) สำหรับการหลอมรวมของบริการต่างๆ อาทิ กิจการประจำที่ (Fixed Service) กิจการเคลื่อนที่ (Mobile Service) บริการสื่อสารเสียง ข้อมูล อินเทอร์เน็ต และ พหุสื่อ (Multimedia) เป็นไปในทิศทางเดียวกัน” คือ สามารถถ่ายเท ส่งต่อข้อมูล ดิจิตอล ไปยังอุปกรณ์โทรคมนาคมประเภทต่างๆ ให้สามารถรับส่งข้อมูลได้

• “ความสามารถในการใช้โครงข่ายทั่วโลก (Global Roaming)” คือ ผู้บริโภคสามารถ ถืออุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ไปใช้ได้ทั่วโลก โดยไม่ต้องเปลี่ยนเครื่อง

• “บริการที่ไม่ขาดตอน (Seamless Delivery Service)” คือ การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยไม่รู้สึกถึงการเปลี่ยน เซลล์ไซต์ (Cell Site) เขาใช้คำว่า Seam less นั้นแปลว่า ไร้รอยตะเข็บนะครับ

• อัตราความเร็วในการส่งข้อมูล (Transmission Rate) ในมาตรฐาน IMT-2000 นั้นกำหนดไว้ว่าต้องมีอัตราความเร็ว

> มากกว่า 144 กิโลบิต/วินาที ในทุกสภาวะ > ถึง 2 เมกกะบิต/วินาที ในสภาวะกึ่งเคลื่อนที่ > สูงถึง 384 กิโลบิต/วินาที ในสภาวะเคลื่อนที่.....


ประโยชน์ของเทคโนโลยี 3G คืออะไร


1. ผู้ใช้สามารถโหลต vdo จาก youtube ดูได้จากโทรศัพท์มือถือโดยไม่จำเป็นต้องใช้ notebook อีกต่อไป
2. ความเร็วของ 3g ในการ download อยู่ที่ 14.4mbps ซึ่งแปลว่าเจ้าของค่าย hi-speed internet ได้ถึงเวลาอวสานกันแน่นอนครับ
3. มีคนวิตกกังวลเรื่องคลื่นสัญญาณที่วิ่งอยู่ในอากาศว่าจะมีผลกระทบทำให้เราเป็นมะเร็งมากขึ้นหรือเปล่า แต่ขนาดในอเมริกาที่เป็นประเทศที่ชอบขึ้นศาลเป็นชีวิตจิตใจก็ไม่มีใครฟ้องร้องกันมากนะครับ หรืออาจจะมีแต่ผมตกข่าวก็ได้
4. Software โปรแกรม-ข้อมูลทุกอย่างน่าจะถูกปรับเปลี่ยนมาเพื่อใช้บน internet ทั้งหมด เพราะมีความสะดวกในการใช้งานมากกว่า เหมือน google doc...ด้านบนเรานี่ไง
5. จะมีเปลี่ยนแปลงแผนการทำการตลาดมาสู่รูปแบบของ e-marketing แทนการตลาดแบบเดิม ด้วยเหตุผลที่ว่า ต้นทุนต่ำ ตรงเป้าหมาย ทุกที่และทุกเวลา 

แหล่งที่มา:

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น